การใช้งานพุกเคมี
ความรู้และวิธีการใช้งานพุกเคมี ในสื่อภาษาไทยยังถือว่ามีอยู่น้อยมาก การทำงานหรือการนำไปปฏิบัติงานจริง ผู้ใช้จะอาศัยประสบการณ์และความชำนาญ ซึ่งในบางครั้งอาจเกิดความผิดพลาดได้
ในบทความนี้ เราได้นำ โครงงานทางวิศวกรรม ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา มานำเสนอ โดยเนื้อหาในโครงงานนี้นับว่ามีประโยชน์มากๆ
ในโครงงานนี้ได้เข้าไปศึกษากําลังรับแรงดึงของพุกเคมี (Chemical Bolt) ที่ฝังในคอนกรีต
มีการทดสอบกับพุกเคมีหลากหลายชนิด
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M8 Chemical Bolt ชนิด Sika Anchor Fix-2
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M10 Chemical Bolt ชนิด Sika Anchor Fix-2
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M12 Chemical Bolt ชนิด Sika Anchor Fix-2
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M8 Chemical Bolt ชนิด HIT-HY 150
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M10 Chemical Bolt ชนิด HIT-HY 150
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M12 Chemical Bolt ชนิด HIT-HY 150
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M10 Chemical Bolt ชนิดแคปซูล HVU
- กําลังรับแรงดึงสลักเกลียว (Bolt) ขนาด M12 Chemical Bolt ชนิดแคปซูล HVU
- และอื่นๆ อีกหลายชนิด และหลายรูปแบบการทดสอบ
ต้องขอขอบคุณทีมผู้วิจัยโครงงาน และอาจารย์ผู้ดูแล ความรู้จากการทดสอบนี้จะเป็นประโยชน์และเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ใช้งาน ตลอดจนวงการก่อสร้างไทยได้อย่างมาก
อ้างอิง แหล่งที่มา